สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

 รูปหลายเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันก็ต่อเมื่อ รูปหลายเหลี่ยมสองรูปนั้นมี

1. ขนาดของมุมเท่ากันเป็นคู่ ๆ ทุกคู่

2. อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่สมนัยกันทุกคู่เป็นอัตราส่วนที่เท่ากัน    

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

ค 3.2  ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ  (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ใน

ค 6.1  ม.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม  

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถระบุเงื่อนไขที่ทําใหรูปหลายเหลี่ยมสองรูปคลายกันไดอย่างถูกต้อง

 2. นักเรียนสามารถบอกสมบัติของรูปหลายเหลี่ยมที่คลายกันได้อย่างถูกต้อง

การวัดผลและประเมินผล

1. วิธีการ

1.1 สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

1.2 ประเมินจากการทำใบงาน

2. เครื่องมือ

2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน

2.2 แบบบันทึกคะแนน

3. เกณฑ์

3.1 ผลงานมีความถูกต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนน

3.2 ผ่านเกณฑ์ในระดับพอใช้ ขึ้นไป

 

 

 

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
กลุ่มสาระ คณิตศาสตร์
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ความคล้าย
ชั่วโมง รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน (2)
เรื่อง รูปเรขาคณิตที่คล้ายกัน (2) 2 ส.ค. 64 (มีใบงานประกอบการสอน)