สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

คำคล้องจอง คือ คำที่มีสระเหมือนกัน ไม่มีตัวสะกด และคำที่มีเสียงตัวสะกดเหมือนกัน และคำคล้องจองเป็นลักษณะของภาษาที่ทำให้ภาษาไทยมีความไพเราะ

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)                                                                     

                   - บอกวิธีการอ่านออกเสียงคำคล้องจองได้

ด้านทักษะกระบวนการ (P)                                                                     

                   - อ่านและเขียนคำคล้องจองได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)                                                            

                   - มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

ประเด็นประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกวิธีการอ่านออกเสียงคำคล้องจองได้     

 

๑. พิจารณาจากการตอบคำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

๑. คำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

 - อ่านและเขียนคำคล้องจองได้

 

- ใบงานที่ 7 เรื่อง เขียนคำคล้องจอง

 

- แบบประเมิน ใบงานที่ 7 เรื่อง เขียนคำคล้องจอง

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- มีมารยาทในการอ่านและการเขียน

 

๑. พิจารณาจากการตอบคำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

1. คำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

๓.ความสามารถในการใช้

ทักษะชีวิต

 

-การประเมินความสามารถใน     การสื่อสาร

-การประเมินความสามารถในการคิด

การประเมินความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 

-แบบประเมินความสามารถในการสื่อสาร

-แบบประเมินความสามารถในการคิด

-แบบประเมินความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. มีวินัย

๒. มุ่งมั่นในการทำงาน

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

ปีการศึกษา 2564 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ 20 อักษรนำหรรษา
ชั่วโมง อักษรนำหรรษา
เรื่อง คำคล้องจองสุขสันต์ 17 มี.ค. 65 (มีใบงาน ใบความรู้)