สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

นิทานเรื่องตาเจือ เป็นนิทานที่มีคำประสมสระเอือะ สระเอือ เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกฝนการอ่าน
และสระเอือะ สระเอือ

การอ่าน เขียน สะกดคำที่ประสมสระเอือะ สระเอือ เป็นการทบทวนสระ เพื่อสามารถอ่านและเขียนคำที่มีสระเอือะ สระเอือได้

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                    - บอกหลักการอ่านและเขียนคำสระเอือะ สระเอือได้

ทักษะ/กระบวนการ (P)

                    1) อ่านและเขียนคำสระเอือะ สระเอือได้

                   2) ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                   - เห็นความสำคัญของการอ่านและการเขียน

 

การวัดผลและประเมินผล

ประเด็นประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกหลักการอ่านและเขียนคำสระเอือะ สระเอือได้

 

๑. พิจารณาจากการตอบคำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

๑. คำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

2. อ่านและเขียนคำสระเอือะ สระเอือได้

3. ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่านได้

 

- ใบงานที่ 6 เรื่อง เขียนคำที่ประสมด้วยสระเอือ

 

- แบบประเมินใบงานที่ 6 เรื่อง เขียนคำที่ประสมด้วยสระเอือ

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

- เห็นความสำคัญของการอ่านและการเขียน             

 

๑. พิจารณาจากการตอบคำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

1. คำถาม

๒. การสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

 

-การประเมินความสามารถใน     การสื่อสาร

-การประเมินความสามารถในการคิด

 

-แบบประเมินความสามารถในการสื่อสาร

-แบบประเมินความสามารถในการคิด

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. ใฝ่เรียนรู้

๒. รักความเป็นไทย

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

ปีการศึกษา 2564 / 2
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ 16 ดอกสร้อยแสนรัก
ชั่วโมง ดอกสร้อยแสนรัก
เรื่อง ตาเจือ 24 ม.ค. 65 (มีใบงาน ใบความรู้)