สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การเขียนเรื่องตามจินตนาการ เป็นการเขียนตามความรู้สึกนึกคิด และอารมณ์ในเชิงสร้างสรรค์โดยนำสิ่งที่เห็นในภาพมาเชื่อมโยงกับจินตนาการของผู้เขียน

การเขียนเรื่องตามจินตนาจากภาพ จะช่วยพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทักษะการเขียน และเพื่อความบันเทิงและความสุขในการอ่านการเขียน

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                    - บอกความหมายคำและประโยคได้

                     - บอกการเขียนเพื่อความบันเทงได้

ทักษะ/กระบวนการ (P)

                    - อ่านคำ และแต่งประโยคจากภาพได้

                    - เขียนเพื่อการบันเทิงได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                    - มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด / ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือที่ใช้

เกณฑ์

ด้านความรู้  ความเข้าใจ     

๑.บอกความหมายคำและประโยค

๒.บอกการเขียนเรื่องตามจินตนาการ

 

- พิจารณาการตอบคำถาม

 

 

- คำถาม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะและกระบวนการ

๑.อ่านคำและแต่งประโยคจากภาพ

๒.เขียนเรื่องตามจินตนาการ

 

- ใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนเรื่องตามจินตนาการ

 

- แบบประเมินใบงานที่ ๙

เรื่อง เขียนเรื่องตามจินตนาการ

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม

มีมารยาทในการอ่านและ

การเขียน

 

 

 

- สังเกตพฤติกรรมนักเรียน

 

 

 

- แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑.มีวินัย

๒.ใฝ่เรียนรู้

๓.มุ่งมั่นในการทำงาน

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑.ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด

 

 

๑.การประเมินความสามารถในการสื่อสาร

๒.การประเมินความสามารถในการคิด

 

๑.แบบประเมินความสามารถใน

การสื่อสาร

๒.แบบประเมินความสามารถในการคิด

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๑๐ นักเขียนนักอ่าน
ชั่วโมง นักเขียนนักอ่าน
เรื่อง เขียนเรื่องสนุก ๑๙ ต.ค. ๖๔ (มีใบงาน)