สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

คำคล้องจอง คือคำที่มีสระเหมือนกัน ไม่มีตัวสะกด และคำที่มีเสียงตัวสะกดเหมือนกัน และคำคล้องจองเป็นลักษณะของภาษาที่ทำให้ภาษาไทยมีความไพเราะ

การอ่านและสะกดคำที่พยัญชนะต้นเป็นอักษรกลาง มีมาตราแม่กก และ แม่กด เป็นตัวสะกดการเขียนประโยคง่าย ๆ เป็นทักษะการสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจและเพื่อความบันเทิง

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                     ๑) อธิบายการอ่านและเขียนคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมี  ก ด  สะกด ได้ถูกต้อง

                     ๒) บอกวิธีการอ่านออกเสียงคำคล้องจองได้

ทักษะ/กระบวนการ (P)

                    ๑) อ่านและเขียนคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมี  ก ด  สะกดได้

                    ๒) เขียนประโยคจากคำคล้องจอง ๑ พยางค์ และ ๒ พยางค์ได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                   - มีมารยาทในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน

การวัดผลและประเมินผล

สิ่งที่ต้องการวัด / ประเมิน

วิธีการ

เครื่องมือที่ใช้

เกณฑ์

ด้านความรู้  ความเข้าใจ

๑.อธิบายการอ่านและเขียนคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมี  ก ด  สะกด

๒.บอกวิธีการอ่านออกเสียงคำคล้องจอง

 

- พิจารณาการตอบคำถาม

 

 

- คำถาม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านทักษะและกระบวนการ

๑.อ่านและเขียนคำที่มีพยัญชนะต้นเป็นอักษรกลางมี  ก ด

๒.เขียนประโยคจากคำคล้องจอง ๑ พยางค์ และ ๒ พยางค์

 

- ใบงานที่ ๗ เรื่อง เขียนประโยคจากคำคล้องจอง

 

 

 

 

- แบบประเมินใบงานที่ ๗

เรื่อง เขียนประโยคจากคำคล้องจอง

 

 

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม

มีมารยาทในการอ่านและ

การเขียน

 

 

- สังเกตพฤติกรรมนักเรียน

 

 

- แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑.มีวินัย

๒.ใฝ่เรียนรู้

๓.มุ่งมั่นในการทำงาน

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑.ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด

 

๑.การประเมินความสามารถในการสื่อสาร

๒.การประเมินความสามารถในการคิด

๑.แบบประเมินความสามารถในการสื่อสาร

๒.แบบประเมินความสามารถในการคิด

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๘ คำคล้องจองร้อยกรองไทย
ชั่วโมง คำคล้องจองร้อยกรองไทย
เรื่อง ลองเขียนคำคล้องจองจากภาพ ๑๗ ก.ย. ๖๔ (มีใบงาน ใบความรู้)