สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การใช้ประโยคสื่อสารในชีวิตประจำวัน มีความสำคัญอย่างมาก ผู้เรียนจะต้องเข้าใจหลักการเขียนประโยคให้ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น ประโยคคำถาม ประโยคบอกเล่า เพื่อให้สามารถสื่อสารได้ตรงความหมาย

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                    - บอกหลักการเขียนสื่อสารด้วยประโยคอย่างง่ายได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

                    - เขียนสื่อสารด้วยประโยคง่าย ๆ ได้ถูกต้อง

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                   - เห็นความสำคัญของการสื่อสารด้วยประโยค

การวัดผลและประเมินผล

เกณฑ์ประเมิน : การทำใบงานที่ 9 เรื่อง การแต่งประโยคสื่อสารจากรูปภาพ

ประเด็น                 การประเมิน

ระดับคุณภาพ

(ดีมาก)

(ดี)

(พอใช้)

(ปรับปรุง)

๑. การแต่งประโยค

แต่งประโยคสื่อสารจากรูปภาพได้ถูกต้องตรงตามความหมายและสอดคล้องกับรูปภาพที่กำหนดให้

ทั้ง 5 รูป

แต่งประโยคสื่อสารจากรูปภาพได้ถูกต้องตรงตามความหมายและสอดคล้องกับรูปภาพที่กำหนดให้

4 รูป

แต่งประโยคสื่อสารจากรูปภาพได้ถูกต้องตรงตามความหมายและสอดคล้องกับรูปภาพที่กำหนดให้

3 รูป

แต่งประโยคสื่อสารจากรูปภาพได้ถูกต้องตรงตามความหมายและสอดคล้องกับรูปภาพที่กำหนดให้

เพียง 1 - 2 รูป

2. ความถูกต้องไวยากรณ์

แต่งประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

ของภาษาไทย

ทั้ง 5 ประโยค

แต่งประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

ของภาษาไทย

4 ประโยค

แต่งประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

ของภาษาไทย

3 ประโยค

แต่งประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์

ของภาษาไทย

เพียง 1 - 2 ประโยค

หมายเหตุ  ค่าน้ำหนัก ข้อละ 2 คะแนน

เกณฑ์การประเมินคุณภาพ

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

18 - 20

ดีมาก

15 - 17

ดี

12 - 14

พอใช้

ต่ำกว่า ๑2

ปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

เกณฑ์การตัดสิน : ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป (ต้องได้ระดับพอใช้ขึ้นไป)

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๗ สัญลักษณ์ และประโยคน่ารู้
ชั่วโมง สัญลักษณ์ และประโยคน่ารู้
เรื่อง สื่อสารได้ เข้าใจกัน ๘ ก.ย.๖๔ (มีใบงาน)