สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

เครื่องหมายวรรคตอน เป็น เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเขียนอักษรในภาษาหนึ่ง ๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มักจะไม่เกี่ยวกับระบบเสียงใด ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่าง ๆ กัน และมีกฎเกณฑ์การใช้ต่าง ๆ กัน

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

- บอกความหมายของเครื่องหมายได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

-  วาดเครื่องหมายในภาษาไทยได้

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

              - มีมารยาทในการเขียน  

การวัดผลและประเมินผล

ประเด็นการวัดและประเมินผล

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์การประเมิน

ความรู้

- บอกความหมายของเครื่องหมายได้

 

-การถาม-ตอบ

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบประเมินการถาม-ตอบ

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ 60

ทักษะและกระบวนการ

- วาดเครื่องหมายในภาษาไทยได้

 

 

-การทำใบงานที่ 4 เรื่องเขียนเครื่องหมายในภาษาไทย

 

-แบบประเมินการทำใบงานที่ 4 เรื่องเขียนเครื่องหมายในภาษาไทย

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ 60

คุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม

- มีมารยาทในการเขียน

 

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

ผ่านเกณฑ์การประเมิน

ร้อยละ 60

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๑. ใฝ่เรียนรู้

๒. มุ่งมั่นในการทำงาน

 

-การสังเกตพฤติกรรม

 

-แบบสังเกตพฤติกรรม

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

๑. ความสามารถในการสื่อสาร

๒. ความสามารถในการคิด

 

-การประเมินความสามารถใน      การสื่อสาร

-การประเมินความสามารถในการคิด

 

-แบบประเมินความสามารถในการสื่อสาร

-แบบประเมินความสามารถในการคิด

 

เกณฑ์การประเมิน

ระดับคุณภาพ ผ่าน

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๗ สัญลักษณ์ และประโยคน่ารู้
ชั่วโมง สัญลักษณ์ และประโยคน่ารู้
เรื่อง เขียนเครื่องหมายในภาษาไทย ๑ ก.ย.๖๔ (มีใบงาน ใบความรู้)