สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การรู้จักวรรณยุกต์ และการฝึกเขียนวรรณยุกต์เป็นพื้นฐานในการอ่าน เขียนสะกดคำในภาษาไทย และเมื่อนำไปผันกับคำ วรรณยุกต์เป็นสิ่งที่ทำให้ความหมายของคำแตกต่างกันออก

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)

                    บอกวิธีสะกดคำที่มีรูปวรรณยุกต์ได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

                    - อ่านสะกดคำที่มีวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง

ด้านคุณลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A)

                   - เห็นความสำคัญของการอ่านวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง

การวัดผลและประเมินผล

     แบบประเมินใบงานที่ ๒ เรื่อง  ฝึกเขียนวรรณยุกต์

ประเด็น

การประเมิน

ระดับคุณภาพ

๔ (ดีมาก)

๓ (ดี)

๒ (พอใช้)

๑ (ปรับปรุง)

เขียนและอ่านสะกดคำที่มีวรรณยุกต์

บอกและเขียนวรรณยุกต์ได้ครบทุกตัวด้วยตนเอง

บอกและเขียนวรรณยุกต์

ได้ด้วยตนเอง

 มีบางตัวผิด

แต่แก้ไข

ด้วยตนเองได้

บอกและเขียนวรรณยุกต์ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ และเมื่อมีผู้แนะนำ

ก็สามารถแก้ไขได้

บอกและเขียนวรรณยุกต์ได้ แต่ต้องมีผู้แนะนำ

เกณฑ์การตัดสิน : ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป

ช่วงคะแนน

ระดับคุณภาพ

๑๘-๒๐

ดีมาก

๑๕-๑๗

ดี

๑๒-๑๔

พอใช้

ต่ำกว่า ๑๒

ปรับปรุง

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระ ภาษาไทย
หน่วย หน่วยที่ ๕ พูด คิด ผันคล่อง ท่องอาขยาน
ชั่วโมง พูด คิด ผันคล่อง ท่องอาขยาน
เรื่อง ฝึกเขียนเรียนวรรณยุกต์ ๒ ส.ค.๖๔ (มีใบงาน บัตรวรรณยุกต์)