สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

    รากฐานแห่งความเชื่อ ความสามารถ และวัฒนธรรม เมื่อนำมาบูรณาการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพสังคมและค่านิยมในท้องถิ่นต่าง ๆ นั้น ย่อมเกิดเป็นภูมิปัญญาที่มีความเป็นเอกลักษณ์ทรงคุณค่าแก่รักษาสืบต่อไป

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ตัวชี้วัด

  ส 3.1 ม.3/3 อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม

จุดประสงค์การเรียนรู้

1.นักเรียนสามารถให้ความหมายของภูมิปัญญาพื้นบ้านได้อย่างถูกต้อง

2.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ระดับของภูมิปัญญาไทยได้อย่างถูกต้อง

3.นักเรียนเห็นคุณค่าของภูมิปัญญาอย่างมีเหตุผล

การวัดผลและประเมินผล

1. วิธีการ

  1.1 สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

  1.2 ถาม – ตอบ

  1.3 ทำใบงานที่ 25

2. เครื่องมือ

  2.1 แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน

   2.2 คำถาม

  2.3 ใบงานที่ 25

3. เกณฑ์

  3.1 ตอบคำถามถูกต้อง

  3.2 ผ่านเกณฑ์ในระดับพอใช้ขึ้นไป

ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมสากล
ชั่วโมง ภูมิปัญญาไทย
เรื่อง ภูมิปัญญาไทย 27 ส.ค. 64 (มีใบงานประกอบการสอน)