สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยานั้นแบ่งได้ 3 ระยะตามลักษณะการปกครอง คือ การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้นอยุธยาตอนกลางอยุธยาตอนปลายกครองสมัยอยุธยามีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทางการเมืองโดยมีจุด มุ่งหมายที่สำคัญคือพยายามรวมอำนาจการปกครองสู่ส่วนกลาง และควบคุมการปกครองหัวเมืองต่างๆให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น พร้อมกับพยายามจัดรูปแบบการปกครอง เพื่อถ่วงดุลอำนาจกับกลุ่มเจ้านายและขุนนาง ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการปกครอง ดังนั้น สมัยอาณาจักรอยุธยาจึงเกิดการแย่งชิงอำนายทางการเมืองระหว่างพระมหากษัตริย์เจ้านาย และขุนนางตลอดจนสิ้นอยุธยา

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

วัตถุประสงค์

  1. นักเรียนสามารถอธิบายแนวคิด และ การจัดรูปแบบการปกครองสมัยอยุธยาได้อย่างถูกต้อง
  2. นักเรียนสามารถเปรียบเทียบการจัดรูปแบบการปกครองแต่ละยุคสมัยของอยุธยาได้อย่างถูกต้อง
  3. นักเรียนสามารถอธิบายความสำคัญของพัฒนาการทางการปกครองในสมัยอยุธยา ได้อย่างเหมาะสม

การวัดผลและประเมินผล

  1. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
  2. ตรวจความถูกต้องของชิ้นงาน
ปีการศึกษา 2564 / 1
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์
หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา
ชั่วโมง เรื่อง การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา
เรื่อง การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา 22 ก.ค.64 (มีใบงานประกอบการสอน)